Thai

edit

Etymology

edit

Derived from Pre-Angkorian Old Khmer ʼanteṅ (an unidentified title: person of distinction, woman of distinction, etc) or Angkorian Old Khmer ʼaṃteṅ (idem).[1]

Pronunciation

edit
Orthographicอำแดง
ɒ å æ ɗ ŋ
Phonemic
อำ-แดง
ɒ å – æ ɗ ŋ
RomanizationPaiboonam-dɛɛng
Royal Instituteam-daeng
(standard) IPA(key)/ʔam˧.dɛːŋ˧/(R)

Noun

edit

อำแดง (am-dɛɛng)

  1. (historical) a formal title for a married female commoner or for the wife of a male commoner entitled 400 or lesser fiefs who is not a convict, slave, or captive.[2][3]

References

edit
  1. ^ ราชบัณฑิตยสภา (2015) กฎหมายตราสามดวง: พระธรรมสาตร และหลักอินทภาษ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), Bangkok: ราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 48:ดร.ใกล้รุ่ง อามระดิษ: อํเตง (ข.โบราณ) เป็นคำนำหน้าชื่อสตรี และอาจเป็นคำนำหน้าชื่อวีรบุรุษหรือบุคคลสำคัญที่มีชื่อเสียง. ผศ. ดร.จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา: อํเตง เป็นคำนำหน้าชื่อวีรบุรุษ ปรากฏในจารึกภาษาเขมรสมัยคริสต์ศตวรรษที่ ๑๑.
  2. ^ ราชบัณฑิตยสภา (2015) กฎหมายตราสามดวง: พระธรรมสาตร และหลักอินทภาษ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), →ISBN:
    อำแดง คำนำหน้าชื่อหญิงที่แต่งงานแล้ว ได้แก่ ภรรยาข้าราชการที่ถือศักดินาต่ำกว่า ๔๐๐ ลงมา จนถึงภรรยาไพร่หลวงไพร่สมทั้งปวง อธิบายตามประกาศรัชกาลที่ ๔ เรื่อง ประกาศพระราชบัญญัติให้ใช้คำนำหน้าชื่อชนต่าง ๆ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๔. นายกฤษฎา บุณยสมิต: ตามประกาศดังกล่าว กำหนดว่า ภรรยาของขุนนางไม่มีคำนำหน้าชื่อ หญิงที่ยังไม่ได้แต่งงานไม่ต้องมีคำนำหน้าชื่อเช่นกัน.
  3. ^ ราชบัณฑิตยสภา (2020) พจนานุกรมโบราณศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 357:อำแดง น. ๑) คำนำหน้าชื่อหญิงสามัญที่มีสามี...๒) คำนำหน้าชื่อภรรยาของสามัญชนที่มีศักดินาต่ำกว่า ๔๐๐ เว้นแต่เป็นผู้ที่ต้องโทษ เป็นทาส หรือเป็นเชลย