Thai

edit

Pronunciation

edit
Orthographicกรม
k r m
Phonemic
กฺรม
k ̥ r m
[bound form]
กฺรม-
k ̥ r m –
[bound form]
กฺรม-มะ-
k ̥ r m – m a –
RomanizationPaiboongromgrom-grom-má-
Royal Institutekromkrom-krom-ma-
(standard) IPA(key)/krom˧/(R)/krom˧.//krom˧.ma˦˥./

Etymology 1

edit

Derived from Old Khmer kraṃ (hurt; grieved).[1] Cognate with Modern Khmer ក្រំ (krɑm).

Verb

edit

กรม (grom)

  1. (obsolete) Alternative form of ตรม (dtrom)
Derived terms
edit

Etymology 2

edit

Derived from Sanskrit क्रम (krama, order; step);[2] possibly via Old Khmer kraṃma (proceeding, procedure; order, arrangement; rank, grade; order, series; order, ordinance). Cognate with Modern Khmer ក្រម (krɑm).

Noun

edit

กรม (grom)

  1. (archaic) order, arrangement; rank, grade, class; course, way; procedure, process, step; succession, series.
  2. high governmental organisation: ministry, department, bureau, etc.[2][3]
  3. unit of forces or personnel given to a royal person, now only given as an honorary title, consisting of seven classes: กรมหมื่น, กรมขุน, กรมหมื่น, กรมขุน, กรมหลวง, กรมหลวง, กรมพระ, กรมพระยา.[4]
  4. military unit; military agency; body of military personnel.[5]
Derived terms
edit

Etymology 3

edit

Derived from Sanskrit कर्म (karma, act; action; deed).[6] Doublet of กรรม (gam).

Noun

edit

กรม (grom)

  1. (archaic) act; action; deed.[6]
  2. (archaic) deed, instrument, or document, especially one that bears a contract or agreement.[6]
Derived terms
edit

Etymology 4

edit

Uncertain.

Noun

edit

กรม (grom)

  1. (botany) the plant Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. of the family Euphorbiaceae.
    Synonyms: กลม (glom), โลด (lôot), เหมือดโลด

References

edit
  1. ^ ราชบัณฑิตยสภา (2020) พจนานุกรมโบราณศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 10:กรม ๓ (ข. กฺรํ = ช้ำ, บอบช้ำ, ตรอมใจ) ก. ๑) เจ็บ, ช้ำ, ระบม...๒) ระทม, ช้ำใจ
  2. 2.0 2.1 ราชบัณฑิตยสภา (2020) พจนานุกรมโบราณศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, pages 9–10:
    กรม ๑ (ส. กฺรม = การก้าว, ลำดับ) น. กรมราชการ, ส่วนราชการหรือหน่วยงานซึ่งทางราชการจัดตั้งไว้เป็นสังกัดของหมู่พนักงานทำราชการอย่างใดอย่างหนึ่งตามระเบียบการบริหารราชการสมัยอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กรมหนึ่ง ๆ มีเจ้ากรมเป็นผู้บังคับบัญชา มีปลัดกรม สมุหบัญชี มีไพร่ในสังกัด จัดเป็นกรมฝ่ายทหารและกรมฝ่ายพลเรือน ในกรมแต่ละฝ่ายจะมีกรมย่อยลงไปตามความเหมาะสมในแต่ละสมัย บางกรมมีศาลในสังกัด มีอำนาจชำระคดีตามที่กฎหมายกำหนด
  3. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2011) “พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔”, in orst.go.th[1] (in Thai):กรม ๓ [กฺรม]...(ข) น. แผนกใหญ่ในราชการตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่ากระทรวง... (ค) (กฎ) ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลางในระดับรองจากกระทรวงและทบวง ที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
  4. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2011) “พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔”, in orst.go.th[2] (in Thai):
    กรม ๓ (ก) [กฺรม] น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พล...บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา...มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น.
  5. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2011) “พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔”, in orst.go.th[3] (in Thai):กรม ๓ [กฺรม]...น. หน่วยงานของฝ่ายทหาร.
  6. 6.0 6.1 6.2 ราชบัณฑิตยสภา (2020) พจนานุกรมโบราณศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 12:
    กรมธรร <กรมทัน, สารกรมธรรม์, กรม> (ส. กรฺม = การกระทำ + ธรฺม = กฎหมาย) น. เอกสารหนังสือสำคัญหรือสัญญาซึ่งลูกหนี้ หรือเจ้าหนี้ หรือทั้งสองฝ่าย ทำให้ไว้แก่กันเป็นหลักฐาน เช่น การกู้เงิน การขายตัวเป็นทาส และสัญญาต่าง ๆ ตามที่กฎหมายบัญญัติให้ทำตามแบบของราชการในแต่ละสมัย...หรือเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข้าชื่อในกรมหลายคน, จะคิดเอาดอกเบี้ยมิได้เลยเพราะเปนเงินนอกกรม (สามดวง: พระไอยการกู้นี่)