เบิก
Eastern Lawa
editPronunciation
editNoun
editเบิก (boek)
- mortar (vessel).
Thai
editAlternative forms
editAlternative forms
Etymology
editFrom Angkorian Old Khmer បេក៑ (pek, “to open, to loose, to release; to hand out, to issue, to give; to allocate, to distribute; to divide, to separate; etc”). Cognate with Modern Khmer បើក (baək), Northern Khmer เบฺิก, Lao ເບີກ (bœ̄k).
Pronunciation
editOrthographic/Phonemic | เบิก e ɓ i k | |
Romanization | Paiboon | bə̀ək |
Royal Institute | boek | |
(standard) IPA(key) | /bɤːk̚˨˩/(R) |
Verb
editเบิก • (bə̀ək) (abstract noun การเบิก)
- (archaic) to bring or lead (forth, forwards, towards, through, etc).[1][2]
- 1292/93, “จารึกพ่อขุนรามคำแหง (จารึกหลักที่ ๑)”, in พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หลักที่ ๑, 3rd edition, Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, published 2013, →ISBN, page 17:
- เมื่อกูขึ้นใหญ่ได้สิบเก้าเข้า ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่อเมืองตาก พ่อกูไปรบขุนสามชนหัวซ้าย ขุนสามชนขับมาหัวขวา ขุนสามชนเกลื่อนเข้า ไพร่ฟ้าหน้าใสพ่อกูหนีญญ่ายพายจแจ้น กูบ่หนี กูขี่ช้างเบกพล
- mʉ̂ʉa guu kʉ̂n yài dâai sìp-gâao kâo · kǔn sǎam chon jâao-mʉʉang chɔ̀ɔt maa tɔ̂ɔ mʉʉang dtàak · pɔ̂ɔ guu bpai róp kǔn sǎam chon hǔua sáai · kǔn sǎam chon kàp maa hǔua kwǎa · kǔn sǎam chon glʉ̀ʉan kâo · prâi-fáa-nâa-sǎi pɔ̂ɔ guu nǐi yá-yâai-paai-jà-jɛ̂n · guu bɔ̀ɔ nǐi · guu kìi cháang bèek pon
- Once I had grown up, attaining [the age of] nineteen years, Khun Sam Chom, lord of Chot Town, came to attack Tak Town. My sire went [in]to battle [with] Khun Sam Chon [from] the left quarter. Khun Sam Chon rode [his elephant] in [from] the right quarter. [As] Khun Sam Chon marched [his men] in, the men of my sire took flight in disorder. I fled not. I, mounted [upon] an elephant, led [my] host [forth].
- เมื่อกูขึ้นใหญ่ได้สิบเก้าเข้า ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่อเมืองตาก พ่อกูไปรบขุนสามชนหัวซ้าย ขุนสามชนขับมาหัวขวา ขุนสามชนเกลื่อนเข้า ไพร่ฟ้าหน้าใสพ่อกูหนีญญ่ายพายจแจ้น กูบ่หนี กูขี่ช้างเบกพล
- (elegant) to open; to lift up; to uncover; to unveil.
- (now rare) to widen; to enlarge; to extend; to expand.
- to introduce; to present; to bring forwards; to put forwards.
- 2017 September 29, “พยานโจทก์คดีไผ่ ดาวดิน ขัดคำสั่ง คสช. เบี้ยวนัดไม่มาศาล”, in โพสต์ทูเดย์[1], Bangkok: โพสต์ทูเดย์, retrieved 2019-12-20:
- to summon (to appear before an authority or in court).
- 1999 September 4, “ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย[2], Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, published 2019-03-21, archived from the original on 4 October 2020:
- to apply for withdrawal, provision, or distribution (of money, materials, etc).
Derived terms
editReferences
edit- ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2013) พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หลักที่ ๑ (in Thai), 3rd edition, Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, page 47: “เบก ก. เปิดทาง ในความว่า "กูขี่ช้างเบกพล" (๑/๗). (เทียบภาษาเขมรโบราณ เปก แปลว่า เปิด, ภาษาเขมร เบิก แปลว่า เบิก, เปิด). เบกพล ก. แหวกไพร่พลออกไป ในความว่า "กูขี่ช้างเบกพล" (๑/๗).”
- ^ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิชำระและจัดพิมพ์เผยแพร่หนังสือประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๓ (1999) ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๓ (in Thai), Bangkok: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์, กรมศิลปากร, →ISBN, page 29:
- เบกพล พาพลบุกเข้าไป, ขับพลฝ่าเข้าไป เบก เป็นภาษาเขมรโบราณ แปลว่า เปิด, ขับ, ไล่ต้อน, เคลื่อน ปัจจุบันใช้ว่า เบิก คำนี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอ่านได้ว่า บุกพล ศาสตราจารย์ยอร์จ เซเดส์ อ่านว่า เนกพล อธิบายว่า เป็นคำย่อมาจาก อเนกพล คือ มีกำลังมาก ศาสตราจารย์ฉ่ำ ทองคำวรรณ ได้อ่านแก้ไขให้ถูกต้องว่า เบกพล
Categories:
- Eastern Lawa terms with IPA pronunciation
- Eastern Lawa lemmas
- Eastern Lawa nouns
- Thai terms borrowed from Angkorian Old Khmer
- Thai terms derived from Angkorian Old Khmer
- Rhymes:Thai/ɤːk̚
- Thai terms with IPA pronunciation
- Thai 1-syllable words
- Thai lemmas
- Thai verbs
- Thai terms with archaic senses
- Thai terms with usage examples
- Thai terms with rare senses