ว่า
See also: วา
BisuEdit
PronunciationEdit
NounEdit
ว่า (wà)
- pig.
ThaiEdit
EtymologyEdit
From Middle Chinese 話 (MC ɦˠuaiH, “to say; to speak”). Cognate with Lao ວ່າ (wā), Northern Thai ᩅ᩵ᩤ, Khün ᩅ᩵ᩤ, Lü ᦞᦱᧈ (vaa¹), Shan ဝႃႈ (wāa), Tai Dam ꪫ꪿ꪱ, Ahom 𑜈𑜠 (ba), Zhuang vah.
PronunciationEdit
Orthographic/Phonemic | ว่า w ˋ ā | |
Romanization | Paiboon | wâa |
Royal Institute | wa | |
(standard) IPA(key) | /waː˥˩/(R) | |
Homophones | หว้า |
VerbEdit
ว่า • (wâa) (abstract noun การว่า)
- to say, to speak, to tell; to utter, to pronounce.
- to instruct; to direct.
- to address; to deal (with); to handle; to administer; to manage.
- to admonish; to scold; to rebuke; to lecture.
- to criticise; to comment negatively; to speak ill (of).
- (now rare) to sing; to chant.
- (now often in combination) to hire; to employ; to ask to do something in exchange for compensation.
- to think, to view; to bear in mind, have in mind, or create in mind (a thought, opinion, idea, etc); to plan, to intend.
- 2019 April 24, ยิ่งยศ ปัญญา, ลองกอดหนูดูสิม้า (กรงกรรม)[1], Bangkok: Channel 3, retrieved 2019-07-30, spoken by ย้อย อัศวรุ่งเรืองกิจ (ใหม่ เจริญปุระ), 03:55 from the start:
- ม้าไม่อยากให้เอ็งกลับไปเชียงใหม่แล้วล่ะ มาอยู่ด้วยกันเสียใกล้ ๆ ที่นี่แหละ ม้าว่าจะยกตึกที่ปากน้ำโพให้เอ็งทั้งสองคน เอ็งสองคนผัวเมียอยากจะค้าขายอะไรก็ไปปรึกษากัน
- máa mâi yàak hâi eng glàp bpai chiiang-mài lɛ́ɛo lâ · maa yùu dûai-gan sǐia glâi glâi tîi-nîi lɛ̀ · máa wâa jà yók dtʉ̀k tîi bpàak-nám-poo hâi eng táng sɔ̌ɔng kon · eng sɔ̌ɔng kon pǔua miia yàak jà káa-kǎai à-rai gɔ̂ bpai bprʉ̀k-sǎa gan
- I don't want you to return to Chiang Mai anymore. Come [and] live together near this very place. I think [I] will to give the buildings at Pak Nam Pho to both of you. [If] you two, husband [and] wife, want to do [any] business whatsoever, just go consult each other.
- ม้าไม่อยากให้เอ็งกลับไปเชียงใหม่แล้วล่ะ มาอยู่ด้วยกันเสียใกล้ ๆ ที่นี่แหละ ม้าว่าจะยกตึกที่ปากน้ำโพให้เอ็งทั้งสองคน เอ็งสองคนผัวเมียอยากจะค้าขายอะไรก็ไปปรึกษากัน
- (archaic) to mean; to denote; to signify.
See alsoEdit
to say, to speak, to tell; to utter, to pronounce
ConjunctionEdit
ว่า • (wâa)
- as; like; as if.
- as; that; as follows.
- Synonym: ที่ (tîi)
- 1681, พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ, Bangkok: โรงพิมพ์ไทย, published 1907, page 3:
- ศักราช ๗๘๑ กุญศก มีข่าวมาว่า พระมหาธรรมราชาธิราชเจ้านฤพานแลเมืองเหนือทั้งปวงเปนจลาจล
- sàk-gà-ràat · jèt-rɔ́ɔi bpɛ̀ɛt-sìp èt · gun sòk · mii kàao maa wâa · prá má-hǎa tam-má-raa-chaa-tí-râat jâao ná-rʉ́-paan lɛɛ mʉʉang nʉ̌ʉa táng-bpuuang bpen jà-laa-jon
- [In] the year 781, the Year of the Pig, there came the tidings that Phra Maha Thammarachathirat the Lord had passed into eternity and all the northern towns fell into turbulency.
- ศักราช ๗๘๑ กุญศก มีข่าวมาว่า พระมหาธรรมราชาธิราชเจ้านฤพานแลเมืองเหนือทั้งปวงเปนจลาจล
- 1926, สิน เฉลิมเผ่า, ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๓๔, Bangkok: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, page 10:
- ข้าพเจ้าได้พูดกับเจ้าพระยาวิชเยนทรว่า ชายคนนี้แลสมควรที่จะเปนราชทูตออกไปเมืองฝรั่งเศส
- kâa-pá-jâao dâai pûut gàp jâao-prá-yaa wít-chá-yeen wâa · chaai kon níi lɛɛ sǒm-kuuan tîi jà bpen râat-chá-tûut ɔ̀ɔk bpai mʉʉang fà-ràng-sèet
- I had spoken with Chaophraya Witchayen that this man, indeed, befitted being a royal diplomat [for] going out to France.
- ข้าพเจ้าได้พูดกับเจ้าพระยาวิชเยนทรว่า ชายคนนี้แลสมควรที่จะเปนราชทูตออกไปเมืองฝรั่งเศส
- 1935 June 10, “ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย[2], Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, retrieved 2020-05-13:
- ถ้ามีเหตุควรเชื่อว่า ผู้ต้องหาหรือจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ให้พนักงานสอบสวนหรือศาล แล้วแต่กรณี สั่งให้พนักงานแพทย์ตรวจผู้นั้น...
- tâa mii hèet kuuan chʉ̂ʉa wâa · pûu-dtɔ̂ng-hǎa rʉ̌ʉ jam-ləəi bpen pûu wí-gon-jà-rìt lɛ́ mâi sǎa-mâat dtɔ̀ɔ-sûu ká-dii dâai · hâi pá-nák-ngaan-sɔ̀ɔp-sǔuan rʉ̌ʉ sǎan · lɛ́ɛo-dtɛ̀ɛ-gɔɔ-rá-nii · sàng hâi pá-nák-ngaan pɛ̂ɛt dtrùuat pûu nán ...
- If there is a reasonable cause to believe that the alleged offender or accused person is a person of unsound mind and is unable to defend [his] case, the inquiry officer or court, as the case may be, shall order a medical officer to examine such person...
- ถ้ามีเหตุควรเชื่อว่า ผู้ต้องหาหรือจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ให้พนักงานสอบสวนหรือศาล แล้วแต่กรณี สั่งให้พนักงานแพทย์ตรวจผู้นั้น...
- as to; regarding; concerning.
- 1894 February 5, “พระราชบัญญัติตั้งศาลรับสั่งเปนการพิเศษครั้งหนึ่งสำหรับชำระคนในบังคับสยามที่ต้องหาว่า กระทำความร้ายผิดกฎหมายที่ทุ่งเชียงคำ แลที่แก่งเจ๊ก เมืองคำมวญ”, in ราชกิจจานุเบกษา, volume 40, number 46, Bangkok, page 500:
- คนในบังคับสยามผู้ต้องหาว่า กระทำความร้ายผิดกฎหมายต่อคนในบังคับฝรั่งเศส
- kon nai bang-káp sà-yǎam pûu dtɔ̂ng hǎa wâa · grà-tam kwaam-ráai pìt gòt-mǎai dtɔ̀ɔ kon nai bang-káp fà-ràng-sèet
- persons under Siamese protection who were accused of having committed offences [or] breaches of law against people under French protection
- คนในบังคับสยามผู้ต้องหาว่า กระทำความร้ายผิดกฎหมายต่อคนในบังคับฝรั่งเศส
Derived termsEdit
Derived terms
- ต่อว่า (dtɔ̀ɔ-wâa)
- ต่อว่าต่อขาน
- ต่างว่า
- ทว่า (tá-wâa)
- ที่ว่าการ
- นายว่าขี้ข้าพลอย
- ปากว่าตาขยิบ (bpàak-wâa-dtaa-kà-yìp)
- ปากว่ามือถึง
- เป็นว่าเล่น
- ผู้ว่า
- ผู้ว่าการ (pûu-am-nuai-gaan)
- ผู้ว่าคดี
- ผู้ว่าราชการ (pûu-wâa-râat-chá-gaan)
- รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
- ล่วงว่า
- ว่ากลอนสด
- ว่ากล่าว
- ว่าการ (wâa-gaan)
- ว่าขาน
- ว่าข้ามหัว
- ว่าเข้านั่น
- ว่าคดี
- ว่าความ (wâa-kwaam)
- ว่าง่าย
- ว่าจ้าง
- ว่าด้วย
- ว่าต่าง (wâa-dtàang)
- ว่าตามหลัง
- ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง (wâa-dtɛ̀ɛ-kǎo-ì-nǎo-bpen-eeng)
- ว่าที่ (wâa-tîi)
- ว่านอนสอนง่าย
- ว่าไปทำไมมี
- ว่าไม่ได้
- ว่าไม่ไว้หน้า
- ว่ายาก
- ว่ายากสอนยาก
- ว่าลับหลัง
- ว่าแล้ว
- ว่าแล้วว่าอีก
- ว่าวอน
- ว่าส่ง ๆ
- ว่าส่งเดช
- ว่าส่งไป
- ว่าสาดเสียเทเสีย
- ว่าใส่หน้า
- ว่าอะไรว่าตามกัน
- ว่าเอาเอง
- สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น (sìp-bpàak-wâa-mâi-tâo-dtaa-hěn)
- แสร้งว่า (sɛ̂ɛng-wâa)
- อันว่า (an-wâa)
- โอ้ว่า